(ซึ่งหมายถึงเรื่องที่เป็นทัศนคติที่มองว่าโลกนี้เป็นของผู้ชายแต่ฝ่ายเดียว   ในเรื่องนางนวลปรากฏว่าไม่มีนางนวลตัวเมียสักตัวเดียว   ได้ข่าวล่าว่าคนสร้างหนังนั้นกำลังจะเพิ่มนกสาว ๆ เข้าไปในหนังที่กำลังจะถ่ายทำอยู่) หรือบางคนถึงกับว่าเป็นเรื่องเหลวไหลไร้สาระ และเป็นปรัชญาเก๊ ๆ ทั้งหมดนี้ทำให้น่าตั้งคำถามว่า
 Male Chauvinist
ก็เป็นปรากฏการณ์ที่ยิ่งใหญ่อันหนึ่งในโลกของหนังสือ     นอกจากจะขายดีเป็นที่สุดแล้ว   หนังสือเล่มนี้ยังถูกวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆ นานา   บางคนว่าเป็นเรื่องปรัชญาคริสต์ศาสนา   บางคนว่าเป็นฮินดู   บางคนว่าเป็นพุทธศาสนา    บางคนว่าเป็นแฟนตาซีครึ่งดิบครึ่งสุก   หรือบางคนว่าเป็นเรื่องของ
โจนาทาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล
ถ้าจะว่าไป
ภาควิเคราะห์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

7

หรือ
วิมานลอย
จะเห็นได้จากอัตราการขายหนังสือเล่มนี้ กล่าวคือ ภายในปีที่แล้ว (2515) หนังสือเล่มนี้ขายได้เกินหนึ่งล้านเล่ม   โดยเริ่มพิมพ์ออกขายเป็นหนังสือปกแข็งราคาประมาณหนึ่งร้อยบาท พอขายดีเข้าหน่อย   ราคาก็เพิ่มขึ้นไปเล่มละร้อยห้าสิบบาท   จนในที่สุดก็ออกมาเป็นฉบับกระเป๋า      ซึ่งตกมาขายในบ้านเรา   อัตราการขายของหนังสือเล่มนี้สร้างความตะลึงพรึงเพริดให้กับผู้แต่งและผู้พิมพ์เป็นอย่างมาก   เพราะในตอนที่เริ่มขายดีนั้น   ปรากฏว่าขายได้อาทิตย์ละห้าพันเล่ม   แล้วก็ถีบตัวขึ้นมาเป็นขายได้วันละหมื่นเล่ม   ทำลายสถิติหนังสือที่เคยขายดีทั้งหมดแม้แต่เรื่อง
โจนาทาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล
ความเกรียวกราวของ
เป็นอะไรกันแน่
โจนาทาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล
Gone With the Wind
วิมานลอย
 ซึ่งคุยนักคุยหนาว่าทำเงินได้เกินหน้า
 เดอะ ก๊อดฟาเธอร์
วิมานลอยนั้นเป็นมาตรฐานของการขายดีไม่ว่าจะเป็นหนังสือหรือหนัง   ดังนั้นใครที่จะมาทำลายสถิติก็มักจะเอาเรื่องนี้เป็นหลักที่ตั้งชัยชนะไว้ ตัวอย่างล่าสุดเห็นจะเป็นหนังเรื่อง
หนังเรื่อง
มนต์รักเพลงสวรรค์
 หรือ
The Sound of  Music
ก็เคยคุยเรื่องทำลายสถิติรายได้ของ
วิมานลอย
 แล้ว (แต่ความเป็นอมตะที่จะอยู่ต่อไปได้อย่าง
วิมานลอย
ยังเป็นเรื่องที่น่าสงสัยอยู่) ถึงตอนนี้
ถูกแปลออกมาเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย และกำลังถูกสร้างขึ้นมาเป็น
 นางนวล
หนัง ซึ่งคนแต่งได้ค่าลิขสิทธิ์ไปแล้วสองล้านบาท และยังจะได้แบ่งปันผลกำไรอีก 50 เปอร์เซ็นต์เมื่อหนังออกฉาย
Christian Science Monitor
ปัจจุบันศาสนานิกายนี้มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองบอสตัน และมีโบสถ์ของตนเองสองพันกว่าโบสถ์ทั่วอเมริกา มีสาขากว่าสามพันสาขาในหกสิบประเทศทั่วโลก   สิ่งที่ขึ้นหน้าขึ้นตาของศาสนานิกายนี้คือหนังสือพิมพ์รายวันชื่อ
ศาสนานิกายนี้เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นในอเมริกา เมื่อราว ๆ ปี พ.ศ.2422 ผู้ตั้งนิกายเป็นผู้หญิงชื่อ
Mary Eddy Baker
ในที่นี้อยากจะพูดปรัชญาที่แฝงอยู่ในนางนวล ว่าเป็นปรัชญาของคริสต์ศาสนานิกาย
Christian Science
มีคนกล่าวว่าปรัชญาในหนังสือนางนวลนั้นมีเรื่องอิทธิพลของศาสนานิกายนี้แฝงอยู่อย่างมาก (ริชาร์ด บาก เคยเป็นนักเทศน์ดังกล่าวข้างต้น)
ตัวเอง (Self) และตัวตนที่แท้จริงของมนุษย์ ก็คือวิญญาณที่จะคงอยู่ตลอดไปชั่วนิรันดร์
ฉะนั้นพวกนี้จึงปฏิเสธการใช้หยูกยา หัวใจของนิกายนี้จะเน้นอยู่ที่
ดังนั้นปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่มนุษย์เห็นไปว่า จะเป็นเรื่องของความดี ความเลว การเกิด การตาย จึงเป็นอุปาทานหรือภาพลวงตา ความสำคัญทั้งหมดอยู่ที่จิตของมนุษย์เอง และมนุษย์เป็นตัวตนที่ไม่มีกาลเวลาทุกสิ่งทุกอย่างของมนุษย์เกิดขึ้นจากตัวของมันเอง ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นการเจ็บไข้ได้ป่วยอะไรก็ตาม มนุษย์สามารถขจัดได้ด้วยอำนาจจิต พวกนิกายนี้ถือว่าเป็นยารักษาโรคที่ดีที่สุดของมนุษย์ก็คือจิตของตนนั่นเอง
และเน้นในเรื่องของจิตเป็นอย่างมาก
Washington Post
New York Times
ซึ่งไม่ใช่หนังสือเกี่ยวกับศาสนา   แต่เป็นหนังสือรายวันที่ถือกันว่า ลงข่าวสารการเมืองที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งในอเมริกา รอง ๆ ลงไปจาก
ศาสนานิกายนี้ยึดคัมภีร์ไบเบิลเป็นสัจจะแห่งปรัชญา
 หรือ
สิ่งที่นำมาใช้เพื่อการพิชิตนี้ไม่มีอะไรอื่นนอกจากการบังคับควบคุมความคิดของตนเอง ดังนั้นโจนาทานนางนวลจึงกล่าวว่า
นางนวลเฟลตเชอร์บินชนหินผา
 เพราะสำหรับโจนาทานแล้ว ความเป็นปัจเจกบุคคลสำคัญที่สุด และมีพลังที่แฝงอยู่ในความเป็นปัจเจกบุคคลนี้ เมื่อสามารถค้นพบพลังอันนี้ได้ ก็จะสามารถนำมาใช้เพื่อพิชิต (ไม่ว่าจะเป็นความเป็นเลิศในการบิน ความเจ็บ   ความตาย   อย่างกรณีที่                                             )
"นางนวลเป็นความคิดแห่งอิสระเสรีภาพที่ไม่มีขอบเขตจำกัด เป็นสถานภาพของนางนวลที่ยิ่งใหญ่และร่างกายของเธอทั้งหมดจากปลายปีกหนึ่งสู่อีกปลายปีกหนึ่ง ไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากความคิดของเธอเอง" หรือ อีกนัยหนึ่งสิ่งที่โจนาทานพยายามฝึกฝนก็คือการหา ตัวเอง (Self) ให้พบ แล้วก็ใช้การบังคับจิตตนเองไปหาเป้าหมายอันสูงสุด
 (ความเป็นเลิศในการบิน   ไม่ว่าจะเป็นการบินระดับต่ำ   บินระดับสูง    บินกายกรรมอากาศ   หรือบินความรัก    และผลที่สุดตัวเอง (Self) นี้จะอยู่ไปชั่วนิรันดร์   อาจจะอยู่ในกาลเวลาและสถานที่อีกแห่งหนึ่ง เสี้ยมสอนผู้อื่นให้รู้จักอิสระเสรีภาพความเป็นเลิศในการบินต่อไป
ริชาร์ด บาก ให้สัมภาษณ์ทัศนะของเขาไว้ว่า "จงค้นหาว่าเธอรักจะทำอะไร แล้วก็ทำสุดความสามารถให้บรรลุผลสำเร็จ" เขาแย้มไว้อีกว่าไม่ต้องห่วงว่าศาสนาไหนจะอ้างว่าโจนาทานกำลังสั่งสอนลัทธิอยู่ ซึ่งก็คงจะจริง เพราะริชาร์ด บาก ก็ได้ให้อิสระเสรีแก่ผู้อ่านที่จะตีความปรัชญานางนวลไว้อย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และแม้กระทั่งปรัชญาเก๊ ๆ
 โจนาทาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล
 เพื่อน
 เพื่อน
ของเพื่อน ๆ เป็นอันว่าต้องล้มหมอนนอนเสื่อไป ดังนั้นต้นฉบับที่มีอยู่จึงพิมพ์ไม่ครบถ้วนในคราวนั้น
 และก็ขาดเรื่องที่จะลงพิมพ์ เรานั่งคุยกันไปนั่งคุยกันมาแล้วก็สรุปว่าผมควรจะแปลเรื่องที่อ่านสนุก ๆ ง่าย ๆ สักเรื่อง ก็เลยนึกขึ้นได้ว่ามีหนังสือเล่มนี้ ดังนั้นจึงเริ่มลงมือแปล และเริ่มลงพิมพ์ในหนังสือ เพื่อน เมื่อต้นเดือนพฤษภาคม 2516 ลงพิมพ์ติดต่อกันได้เพียงสองเดือนก็ปรากฏว่า หนังสือ
นี้ ขึ้นมาด้วยเหตุผลบังเอิญโดยแท้ จุดประสงค์แรกก็คือเพื่อส่งให้กับนิตยสารฉบับหนึ่ง   เมื่อตอนนั้นเพื่อน ๆ กลุ่มหนึ่งจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนขึ้นมาชื่อ
ถ้าจะว่าไป ผมแปลเรื่อง
นอกจากเหตุบังเอิญข้างต้น สิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจให้ผมแปลหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาก็เพื่ออุทิศให้กับเด็กเล็ก ๆ สักห้าคน ผมเพียงแต่หวังว่าจะได้มีใครไปอ่านให้แกฟังเป็นเพื่อนในยามว่างหรือยามเหงา และก็หวังว่าเด็กเล็ก ๆ เหล่านั้นคงจะได้รับความเพลิดเพลินหรือช่วยสร้างจินตนาการให้แกบ้าง ดูเหมือนเหตุผลทั้งหมดก็คงจะมีเท่านี้นั่นเอง
ชาญวิทย์  เกษตรศิริ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ต้นฤดูร้อน 2517