ในหลายๆด้าน !
ผมรู้สึกสังหรณ์ใจว่าประเทศเรายังขาด "ปรัชญา"อยู่หลายอย่าง....หรือที่มีอยู่ก็อาจจะไม่สอดคล้องและไม่ตอบรับกับ "การแข่งขันของโลกปัจจุบัน"
"ปรัชญา" ที่ 3 ประเทศเอเชียนั้นมี  ทำให้เขาเจริญทางด้านกีฬาเท่านั้นหรือ ? ด้าน "เศรษฐกิจ-สังคม-การเมือง"หละ ?  
ผมชอบเล่นกีฬา  ชอบดูกีฬา  และชอบเก็บเกี่ยวสิ่งดีๆจากการดูกีฬา  เช่นว่า :
อืมม.....เขาก็เจริญกว่าเราอย่างเห็นได้ชัด !

            "ปรัชญา"อะไรหรือที่ทำให้ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี   "แตกต่าง"  จากประเทศเอเชียอื่นๆ ?ทำให้เขาสามารถไปแข่งขันกับประเทศยุโรปหรือ อเมริกาได้อย่างสมศักดิ์ศรี  จนได้รับการยอมรับในระดับโลกว่า "เก่ง" ในกีฬาหลายประเภทเช่น วอลเลย์บอล  ฟุตบอล  ว่ายน้ำ  ปิงปอง  แบดมินตัน ?
            ทำไมกีฬาระดับนานาชาติจึงไม่มีชื่อ "นักกีฬาไทย" อยู่เลย ?  หรือหากจะมีก็น้อยมากๆจนไม่น่านับว่า "มี"?  ที่มีอยู่นั้นก็อยู่อันดับที่เท่าไหร่คนมักจะจำไม่ได้
                ทำอย่างไร "ไทย" เราจึงจะเก่งในกีฬาที่เล่นเป็น "ทีม" เหมือนที่ ญี่ปุ่น เกาหลี เก่งในฟุตบอล ที่ไปถึงระดับ "ฟุตบอลโลก"?

                

นำแนวคิดอย่างนักกีฬาปรับใช้เพื่อการทำงาน

POST  TODAY 22 MAY 06

          

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คนที่ประสบความสำเร็จในโลกทุกคนล้วนเป็นคนที่กล้า "สัญญากับตนเอง" ทั้งสิ้น  ในทางตรงกันข้าม  คนที่ไม่กล้าสัญญากับตนเอง  เพราะกลัวว่า "หากทำไม่สำเร็จ....จะผิดคำพูด" นั้น  ในที่สุดมักจะเป็น "                " บ่อยครั้งที่เราจะเห็นนักกีฬาพูดกับตัวเอง  การเตือนสติตนเองอยู่เสมอถึงเป้าหมายที่เราวางไว้และต้องการ"บรรลุ-              "เป็นสิ่งจำเป็น ผมเคยเห็น                                
สร้างวิสัยทัศน์ไว้ในใจ
คุณสุรชัย  พงเพ็งเจ้าของคอลัมน์ได้ยก "ปรัชญา"ที่เหล่าประเทศผู้นำทางกีฬาได้รวบรวมไว้ว่าสามารถดัดแปลงมาใช้กับการทำงานซึ่งมุ่งเน้นประสิทธิภาพเพื่อการทำกำไรอย่างน่าสนใจดังนี้ :
เมื่ออ่านพบคอลัมน์ชื่อข้างต้นนี้จึงเหมือนถูกสะกิดให้ต้องตัดเก็บไว้ให้ลูกๆได้อ่าน   เพราะผมไม่อยากให้ลูกอยู่ท้ายแถวของสังคมโลก !
มองในแง่ดี  หากเราต้องการเจริญเหมือนเขาบ้าง  เรามีทางลัดคือเราต้องศึกษา "ปรัชญา" ของ 3 ประเทศนั้นว่าเขา "คิดอย่างไร"  "ทำอย่างไรเขาจึงแปลงสิ่งที่คิดไปสู่ความเป็นจริงได้ขนาดนี้ !" 
นักกีฬาย่อมต้องการชัยชนะทุกคน  ไม่มีใครอยากเป็น "Loser" แต่จะมีคนที่ "                      "  
                                  :คนที่สามารถวางเป้าหมายในการทำงานชัดเจนที่สุดว่า "ความสำเร็จ" จากการทำงานคืออะไร  วัดด้วยตัววัดเช่น-คุณภาพ และปริมาณ  ความพึงพอใจของลูกค้า (รวมเพื่อนร่วมงาน)  และวิธีการทำงานนี้ที่มีประสิทธิภาพที่สุดนั้นต้องทำอย่างไร   และทำด้วยความ "                       " เพื่อเป็นผู้ชนะ !
และ"                                    "เท่านั้นที่จะชนะ  ที่แปลกคือคนกลุ่มนี้มักจะเป็น "คนกลุ่มน้อย"
อยากมากที่สุด
เตรียมตัวมาอย่างดีที่สุด
การปรับใช้กับการทำงาน
อยากมากที่สุด
Loser
จดจำสิ่งที่พูดกับตัวเอง
Champion  Tennis  French Open  2006 
Henin-Hardenne
Achieve
ซึ่งเป็น                                                                        หยิบกระดาษโน็ตขึ้นมาอ่านแผนการเล่นในระหว่างพักในแต่ละเกมส์อยู่บ่อยๆเพื่อเตือนตนเองให้อยู่ใน               ที่วางไว้  เพราะมันคือแนวทางที่ตนคิดว่ามีประสิทธิภาพสูงสุดก่อนเข้าแข่ง  เพื่อตนจะไม่ถูกอารมณ์  ถูกความเหนื่อยล้ามาดึงให้ตนเฉไฉออกนอกลู่นอกทาง
Track
ไม่มีอะไรการันตีว่าทำตามนี้แล้วจะชนะ 100%  แต่วิธีนี้ให้โอกาสสูงที่สุด ! ....ก็แค่นั้นเอง !!!
                                   :ทุกวันก่อนการทำงาน  ลองนึกทบทวนเป้าหมายที่เราต้องการบรรลุ  แล้วคิดถึงแผนการทำงานที่เราคิดไว้  ทบทวนดูว่าเมื่อวานนี้เราได้ทำตามที่เคยคิดไว้หรือไม่  มีส่วนใดตกหล่นไม่ได้ทำบ้าง  เช่นเราเคยวางแผนว่าเดือนนี้จะสอนโฟร์แมนให้มีความตระหนักเรื่องคุณภาพ 6 เรื่อง  ผ่านไปแล้วครึ่งเดือนเราทำได้แค่ 2 เรื่อง  เราจะปรับแผนอย่างไรให้เสร็จทัน หรือที่ผ่านมาพบว่าการอบรมที่มีประสิทธิผลจำเป็นต้องใช้เวลามากกว่าที่คิด  ก็ต้องปรับแผนใหม่  เป็นต้น
การปรับใช้กับการทำงาน
  Roger  Federer  เวลาตีเสียจะไม่เคยทำท่าฮึดฮัดหรือ ฟาดไม้เหมือนนักเทนนิสอื่นๆ  ตรงกันข้าม  เขากลับทำหน้าเรียบเฉยเหมือนไม่มีอะไร  แน่นอน  ผู้ชมทุกคนคงสังเกตออกว่าในสมองเขาคงกำลังใช้สมาธิในการแก้เกมส์  ซึ่งหลายครั้งที่เขาอยู่ในตาจนถูกต้อนเข้า Match  Point  แต่ด้วยสมาธิที่ดีเลิศ  เขาสามารถดิ้นหลุดและพลิกสถานการณ์มาเป็นผู้ชนะได้อยู่บ่อยๆ
                                :การทำงานเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญที่สุดของชีวิตท่ามกลางอีกหลายๆกิจกรรม แต่ประสิทธิภาพของการทำงานจะส่งผลให้ศักยภาพในหน้าที่อื่นๆของเราสูงขึ้นได้    ดังนั้นการฝึกฝนให้เรามี "ทักษะ" ที่จำเป็นในการทำงานจึงน่าจะคุ้มค่า  เช่นหากเรามีทักษะในการทนต่ออารมณ์แปรปรวนของตนเองหรือของคนอื่นได้เก่ง  จะทำให้เรา "นิ่ง  มีสติ" หากเราทนต่อความยากลำบากในการทำงานที่ยากๆ  จะทำให้เราผลักดันงานที่มีคุณภาพดีกว่าคนอื่น   หากเรามีทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี  เราจะได้ความเห็นดีๆจากคนรอบข้าง   หากเรามีทักษะในการพูดแต่สิ่งที่สร้างสรรค์  เราจะได้เพื่อนมากกว่าศัตรู  แม้กระทั่งการมีทักษะในการกล่าว "ขอโทษครับ  ผมผิดเอง" "ที่คุณพูดมาก็น่าสนใจนะ  แต่ถ้าจะเป็นอย่างนี้...คุณคิดว่าพอจะเป็นไปได้ไหมครับ ?"  "เรียนทุกท่าน" "ขอบคุณครับ" "คุณทำงานดีมากเลย"ให้ติดเป็นนิสัย
 การฝึกฝนเป็นเรื่องใหญ่สำหรับนักกีฬา ( ต่อให้เป็น Beckham ก็ไม่มีสิทธิ์อ้างว่าไม่ว่างเวลา  Sir  Alex  Furguson  เรียกซ้อม )  การมีวินัยอย่างเสมอต้น  เสมอปลายในการซ้อมไม่ว่าจะเป็นกายบริหารท่าแปลกๆ  บางท่าดูยึกยักชักกะตุก  ดูแปลกพิกล  แต่นั่นแหละจะทำให้นักกีฬาเกิดทักษะแบบซึมเข้าในจิตใต้สำนึกกลายเป็น "สัญชาติญาณ"   และจะทำให้เวลาแข่งจริง  เขาจะตอบสนองต่อเหตุการณ์ตรงหน้าอย่างอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพ
                                  :คงมีบ่อยครั้งที่เราถูกกดดัน  บางคนตอบสนองโดยการตีโพยตีพาย  บางคนรู้สึกเสียหน้าจึงรีบโต้กลับ  ไม่ว่ารูปแบบใดล้วนแล้วแต่พาให้เจ้าตัวตกต่ำลงทั้งสิ้น !  ในสถานการณ์เช่นนั้น  การนิ่งเงียบและคิดด้วยสติปัญญา  ด้วยใจว่าง  อย่างไรเสียก็ยังดีกว่า 2 วิธีแรก !  ที่สำคัญ  หากบริสุทธิ์ใจเสียอย่าง  จะนิ่งเงียบหรือคิดนานหน่อย  ก็ยังดูน่ารักน่าเอ็นดู !
เวลามีสติ  สมองจะฉลาดกว่า !!!
 มีสมาธิ
 การปรับใช้กับการทำงาน
"เป้าหมาย"  "วิธีการ"  "ทักษะ"  หรือไม่ !
ฝึกฝนให้เป็นนิสัย
ถือความผิดพลาดเป็นบทเรียน
ลองนึกถึงความได้เปรียบจาก "ทักษะ" ที่ดึงดูดความร่วมมือเหล่านี้ !  คุณจะตีราคา "ทักษะ" เหล่านี้เท่าไหร่ดีหละ ?
ที่สำคัญ....
ที่สำคัญ 
การปรับใช้กับการทำงาน
การปรับใช้กับการทำงาน
ดูๆเกมส์กีฬากับเกมส์ในการทำงานน่าจะใช้เลียนกันไปมาได้  ใครจะเป็นผู้ชนะ  ก็ต้องถามว่า  ใครคนนั้นมี 
ให้อภัยคนอื่นหรือ ยอมรับผิดแทนคนอื่นในบางโอกาสก็น่ารักดีนะครับ !
                                                                           :การทำงานย่อมมีการพลาดท่าบ้าง  บางครั้งตัดสินใจผิดพลาด  ต้องรีบหาสาเหตุ  หาข้อมูลเพิ่มเติมที่น่าเชื่อถือ  บางครั้งเราเชื่อสิ่งที่คนสนิทพูดแต่แท้จริงแล้วสิ่งนั้นเป็นเท็จ  ในขณะที่คนที่ดูไม่สนิทเท่าอาจพูดสิ่งที่ถูกต้องกว่า   คนพูดน้อยกว่าอาจจริงใจมากกว่าคนที่พูดมากกว่า    บางครั้งเราเองถูกหลอกจากความมั่นใจตนเองเกินไป   บางครั้งเราเองขยันน้อยไปหน่อย   ทำให้สะดุดขาตัวเอง (เหมือน  Unforced  Error -ปัจจัยจากตัวเองล้วนๆ) แต่เมื่อใดที่รู้ตัวแล้วต้องรีบยอมรับอย่างมีน้ำใจนักกีฬา  อย่าโทษคนอื่นหากเราเป็นคนผิด   และถ้าอยากให้คนรักเรา
            เวลานักฟุตบอลทำเสียบอล  หน้าที่เดียวคือต้องเอาบอลคืนมาให้ได้  หรือ  เมื่อเสียประตูไป  ก็ต้องหาจุดอ่อนของตน  แล้วแก้ไข  สร้างจุดแข็งขึ้นมาใช้ประโยชน์ให้ได้   นี่คือเกมส์กีฬาขนานแท้  !
ต้องเล่นด้วยความสุขครับ !