....กว่าจะเห็นผลตามที่ผู้นำวาดเอาไว้
การแสดงออกถึงความต้องการคุณภาพของผู้นำอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งที่
"ขาดไม่ได้" เพราะการทำงานคุณภาพต้องใช้ความพยายามอย่างต่อเนื่อง
(ธรรมชาติของมนุษย์นั้น หากเลือกได้
ระหว่างการที่อยู่เฉยๆแล้วมีกิน
ก็คงเลือกแนวทางนี้มากกว่าการที่ต้องเหนื่อยอย่างต่อเนื่องหลายๆปี
1-การสร้างความต่อเนื่องของงานคุณภาพของผู้นำ
:
อยู่
14 ประการดังนี้ :
ขาดไม่ได้
TQM
(ตอนที่ 2)
TQM
ประกอบด้วยหลักการสำคัญที่
ผู้บริหารต้องสร้างบรรยากาศของความเชื่อใจว่าหากผู้ใต้บังคับบัญชาทำงานไม่ได้ตามเป้าตัวเลขเพราะเขาต้องการให้มีคุณภาพแล้ว
หัวหน้าจะไม่ตำหนิอย่างไร้เหตุผลเพื่อกดดันให้รู้สึกว่ามีความผิด
ในทางตรงกันข้าม หากต้องการงานที่มากขึ้น หัวหน้า
ในขณะเดียวกันต้องใส่ความคิดที่ว่า
8-กำจัดความกลัวออกจากที่ทำงาน
:
อย่างไรด้วย
!
6-ทำการอบรมอย่างถาวร
:
"คิดและทำ"
"ความเป็นผู้นำมาพร้อมกับตำแหน่ง"
แนวคิดการตรวจสอบเฉพาะตอนสุดท้ายต้องถูกกำจัดออกไป
เพราะนี่คือความเสียหาย ความสูญเสียมหาศาลที่องค์กรจะได้รับ
และกว่าจะรู้ก็มักจะสายเกินไป ! ตรงกันข้าม
เราต้องเน้นแนวคิดที่จะผลิตสินค้าให้ดีตั้งแต่แรกของทุกขั้นตอน !
7-การสอนความเป็นผู้นำ
:
อยู่ตลอดเวลา
!
"ต้องมีวิธีทำงานใหม่ๆที่ดีกว่าเดิม"
การตรวจสอบในแต่ละขั้นตอนควรมีเป้าหมายเพื่อหาข้อบกพร่องของระบบหรือของวิธีการเพื่อกำจัดความสูญเสียที่เป็นวัสดุและเวลาซึ่งเป็นต้นทุน
ผู้จัดการรุ่นเก่าอาจจะวางโปรแกรมทำงานตรวจสอบเป็นช่วงเริ่มต้น ช่วงกลาง
และตอนจบ แต่การปรับปรุงงานคุณภาพไม่มีคำว่า "ตอนไหน" TQM
เป็นขบวนการที่ไม่มีวันจบ ! TQM ไม่แบ่งว่าตอนไหน
เพราะทุกขั้นตอนล้วนสำคัญทั้งนั้น TQM เรียกร้องให้ทุกคนต้องเชื่อว่า
ผู้บริหารต้องมองต้นทุนทั้งระบบ
มากกว่าการดูแค่ต้นทุนตอนต้นที่อาจนำมาซึ่งปัญหาภายหลังเช่นของถูกอาจก่อเกิดการซ่อมแซมที่มากกว่า
หรือผุพังง่ายกว่า ต้องใช้ทีมบริการทำงานหนักมากกว่า หรือทำให้ต้องทำใหม่อีกรอบ
สิ่งเหล่านี้เป็นต้นทุนแฝง ที่เกิดจากการที่ผู้ตัดสินใจไม่มีความกล้าหาญในการชี้แจงว่าที่เลือกของแพงกว่านั้นมีเหตุผลรองรับ
หากจะให้เกิด
TQM ผู้จัดการต้องแสดงตนอย่างชัดเจนต่อความอยากพัฒนาระบบ
แสดงความมีวินัยแสดงความใส่ใจใน TEAM WORK
ใส่ใจในการพัฒนาขีดศักยภาพของลูกน้อง
การพูดเชิงสร้างสรรค์ให้กำลังใจแก่ลูกน้อง
การมีนิสัยพูดชมมากกว่าติเตียน
การทำงานบนข้อมูลมากกว่าความรู้สึกหรืออารมณ์
ความอดทนที่ให้ลูกน้องออกความเห็นแย้งกับตนเองได้
ความอดทนในการให้ลูกน้องลองผิดลองถูก
การสรุปบทเรียนจากความสำเร็จและความล้มเหลว
การไม่มองว่าการยอมรับความผิดพลาดของตนเป็นการเสียหน้า
เป้าหมายของการสอนไม่ใช่เพียงแค่บอกให้ผู้ใต้บังคับบัญชาว่าต้องทำอะไรบ้าง
แต่หมายความว่าการที่จะทำงานให้ดีขึ้นนั้น ต้อง
ต้องตัดความคิดของคนที่ว่า
5-ความอยากรู้ปัญหาและความต้องการพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง
:
การอบรมต้องทำอย่างเป็นทางการและเป็นภาคบังคับสำหรับผู้มาใหม่เพราะเราไม่ต้องการให้เขานำ
"วิธีทำงานแบบเก่าจากที่อื่น" มาใช้กับเรา ดังนั้น ON-THE-JOB TRAINING
จึงเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้สำหรับ TQM
การอบรมอย่างถาวรนี้รวมไปถึงการอบรมพนักงานเก่าที่ต้องมาใช้วัสดุใหม่
ที่ต้องมาใช้เครื่องจักรใหม่
รวมไปถึงการทำความเข้าใจแก่คู่ค้าของเราด้วยเพื่อลดแรงเสียดทานที่แฝงมาพร้อมกับการยอมรับแบบไม่เต็มใจ
ลดโอกาสของ "การดื้อเงียบ"
ต้องมีคุณภาพเท่านั้น
ต้องมีวินัยต่อตนเองว่าสินค้าที่ไม่มีคุณภาพจะต้องไม่ถูกส่งไปถึงมือลูกค้าเด็ดขาด
!
ที่จะทำงานอย่างมีคุณภาพ
เรียนรู้ที่จะต้องมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนจะทำว่า
รับความท้าทายใหม่ๆ
ยอมรับความเหนื่อยยาก
ทุกคนตั้งแต่ผู้นำสูงสุดลงมาจะต้องยอม
2-การเปลี่ยนกรอบความคิดใหม่ในการทำงานคุณภาพ
:
ผู้ตามจะเลือกทำอะไร
เราคงจะเดาออก ! ผลกระทบในภาพรวมต่อองค์กรในระยะยาวจะเป็นอย่างไร....
เราก็คงจะเดาได้ !
)
หากผู้นำไม่มีวิสัยทัศน์ในเรื่องนี้และแสดงออกอย่างต่อเนื่อง
4-ตัดทิ้งวิธีการเลือก
SUPPLIER ด้วยการดูราคาต่ำสุดเป็นหลัก :
3-การไม่พึ่งพาการตรวจสอบสินค้า
ณ ขั้นตอนสุดท้ายเพียงอย่างเดียว :


11-ผู้บริหารต้องหลีกเลี่ยงการวางเป้าตัวเลขตามอำเภอใจ
:
การผลักดัน
การสร้างแรงจูงใจ การนำเสนอความคืบหน้าของการทำงานคุณภาพ
ข้อมูลการตอบสนองของลูกค้าต่อคุณภาพสินค้า
จะต้องมีการสื่อสารอย่างต่อเนื่องจนเกิดการพัฒนาทั้งองค์กร การสร้างระบบให้ทั้ง 13
ข้อข้างต้นเป็นจริงเป็นหน้าที่ของผู้บริหาร
ต้องลงมาช่วยคิดว่าจะให้เร็วขึ้นนั้น
ต้องทำอย่างไรด้วย !
ผลประโยชน์ของการทำ
TQM จะไม่ปรากฏให้เห็นทันทีเหมือนดูหนังที่เริ่มต้นที่ความยากจนแล้วจบอย่าง HAPPY
ENDING ในฐานะที่รวย ใน 2 ชั่วโมง แต่ต้องใช้เวลาในการอดทนรอ
ในระยะปานกลางไปถึงระยะยาวจึงจะเห็นผลชัดเจนมาก (หากทำอย่างสม่ำเสมอ และ ได้รับความร่วมมือจากทุกระดับไม่มีการกระตุกขากันเอง
การขัดขวาง หรือ ทำอย่างกระท่อนกระแท่นตามอารมณ์ ) ดูญี่ปุ่นเป็นตัวอย่าง
เนื่องจากธรรมชาติของชาวญี่ปุ่นเป็นคนมีวินัย และวัฒนธรรมการที่ผู้นำลงมานำให้ดูเป็นตัวอย่างจนพนักงานทำตามด้วยความศรัทธา
และอย่างต่อเนื่อง การทำงานคุณภาพที่ต้องรอเวลาหลายปีจึงมีโอกาสสัมฤทธิ์ผล
หากเป็นประเทศอื่นๆที่ทำได้ ปีสองปีแล้วยังไม่เห็นผล (แถมในสองปีนี้ก็ทำอย่างไม่เต็มใจ
) ก็ล้มกระดาน หยุดกลางคัน แล้วรีบสรุปว่า TQM ไม่ได้ผล เหมือนอย่างที่ปรากฏในอเมริกาในครั้งที่
Dr.Deming แนะนำ TQM ในปี 1940 เป็นต้น
IS
REQUIRED !
ACTION
IS
NOT ENOUGH :
SUPPORT
ประโยชน์ของ
TQM
ผู้บริหารไม่ควรให้ผลตอบแทนตามปริมาณงานเท่านั้น
เพราะนั่นจะเป็นการส่งเสริมให้มองข้ามคุณภาพซึ่งมีความสำคัญเท่ากัน
องค์กรต้องการคนที่ใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
การก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นต้องมาจากคุณสมบัติเหล่านี้
องค์กรจึงจะสามารถดำรงอยู่ได้ในระยะยาว
14-ปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
:
12-กำจัดการให้รางวัลตอบแทนปลายปีที่อิงปริมาณเป็นหลัก
:
การตั้งเป้าจะต้องคำนึงถึงปัจจัยคุณภาพ
หรือวิธีทำงานที่ได้คุณภาพ
มีประสิทธิภาพสูงขึ้นแก่พนักงานแทนการพูดถึงแต่ตัวเลขที่ยิ่งมากยิ่งดีต่อตนเอง
สุดท้ายแล้วจะชี้นำให้ลูกน้องละเลยงานคุณภาพ
และเท่ากับการส่งสัญญาณที่ผิดๆแก่ลูกน้องว่า "คุณภาพเป็นสิ่งที่ไม่สำคัญ"
10-หลีกเลี่ยงการกระตุ้นประสิทธิภาพโดยไม่บอกวิธีการ
:
ผู้บริหารจะต้องเสริมสร้างบรรยากาศการทำงานร่วมมือกันของแผนกต่างๆมากกว่าการทำให้แข่งขันกันเองถึงขนาดที่ไม่ยอมช่วยกันเลย
เพราะการช่วยเหลือระหว่างฝ่ายเช่นข้อมูลจากลูกค้า
ข้อมูลของส่วนการผลิตในขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันจะทำให้ผลิตภัณฑ์ทราบจุดอ่อนของขั้นตอนก่อนหน้า
ซึ่งมีผลโดยตรงต่อคุณภาพขั้นสุดท้าย!
9-กำจัดกำแพงที่ขวางกั้นระหว่างแผนกต่างๆออกไป
:
ผู้บริหารจะต้องสนับสนุนวิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายทั้งคุณภาพและปริมาณ
เช่นการก่ออิฐให้ดีและเร็วนั้นต้องทำดังนี้
:1-ต้องรักษาเส้นครู,2-งานทุกส่วนต้องอ้างอิงจากเส้นครูนี้,3-การก่ออิฐต้องทำตามขั้นตอนดังนี้
:3.1......,4-งานฉาบปูนให้ดีต้องทำตาม CHECKLIST ดังนี้ :
4.1....4.2....เป็นต้น ไม่ใช่แค่บอกว่า "เอ้า....ทำงานให้ดีนะ
และให้เสร็จก่อนวันที่ 31 ธค. ไม่งั้นจะถูกปรับ ลงมือได้"
ซึ่งเป็นการจัดการที่ไม่ใช่ "การจัดการที่ถูกต้อง"
การหาเรื่องตำหนิอย่างไร้เหตุผลจะทำลายความเชื่อใจระหว่างหัวหน้ากับผู้ใต้บังคับบัญชา
และจะทำลาย TEAM WORK ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญกว่าในระยะยาว !
13-กระตุ้นการให้การศึกษา
และการพัฒนาตนเองของพนักงาน :

แปล และเรียบเรียงโดย....พิชัย อรุณพัลลภ
จาก....VALUE
BASED MANAGEMENT . NET
จะเป็นไปได้หรือไม่
? ใครบ้างที่จะได้ประโยชน์ ?
ประโยชน์ที่เราต้องการนั้น....ระยะสั้น....หรือ....ระยะยาว ?
ประโยชน์นั้นสำหรับเรา....หรือลูกหลาน ?
มีใครบ้างที่ต้องลงมือทำ....ตัวเราเอง....หรือลูกน้อง ?
ควรเริ่มวันนี้ในขณะที่เรายังมีโอกาสเลือก....หรืออีก 10
ปีข้างหน้าที่เราถูกบังคับให้ทำ....อย่างไม่มีทางเลือก ?
จนกลายเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมของโลกทั้ง
HIGH TECH และ LOW TECH ได้
ภายในช่วงเวลาไม่กี่สิบปี....เรา....ในอุตสาหกรรมก่อสร้างซึ่ง LOW TECH
มากและต้องการแก้ปัญหาคุณภาพและประสิทธิภาพที่เราเห็นอยู่ตรงหน้าโดยการใช้ TQM
เพื่อให้ประสบความสำเร็จอย่างญี่ปุ่นบ้าง....
(เมือง
HIROSHIMA ในมุมกล้องเดียวกัน เปรียบเทียบระหว่างปี 1945 และปัจจุบัน)
TQM เกี่ยวอะไรกับเรา ?
ในเมื่อญี่ปุ่นประสบความสำเร็จจากการใช้ TQMในการฟื้นฟูประเทศจากสถานะผู้แพ้สงคราม
การกล้าคิดกล้านำเสนอวิธีใหม่ๆที่ได้เรียนรู้จากการลองผิดลองถูกก็จะทำให้ค้นพบทางออกที่ดีกว่าอยู่เรื่อยๆ
บรรยากาศในที่ทำงานย่อมดีแน่นอน
เพราะทุกคนย่อมอยากทำงานที่ตนมีส่วนร่วมในความสำเร็จ(คนส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานเพราะเงินเพียงอย่างเดียว
ลึกๆแล้วเขาอยากพิสูจน์ด้วยว่าเขาก็มีความสามารถเช่นกัน !) ในเวลาเดียวกัน
ทุกคนชอบทำงานในที่ๆเขาไม่ต้องคอยระวังว่าหัวหน้าจะหาเหตุในการลงโทษด้วยความไม่ชอบหน้า
การทำงานด้วยสมองที่ปลอดโปร่งนั้น เคยมีนักจิตวิทยาทำวิจัยในเรื่องนี้ว่า
"สมองคนเราจะฉลาดที่สุด
มีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อทำงานด้วยความสนุก"
ด้วยวิธีนี้แหละที่ทุกวันนี้
ญี่ปุ่นจึงมีสินค้าที่มีนวัตกรรมล้ำยุคที่สุด และดีที่สุด !
TQM
เปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในขบวนการพัฒนาการทำงาน
ด้วยความไว้วางใจว่าหากล้มเหลว เขาจะไม่ถูกลงโทษ หรือถูกตำหนิ
ตรงกันข้าม
หัวหน้าของเขาที่มีส่วนในการวางรูปแบบการเปลี่ยนแปลงพัฒนาด้วยกันนั้นก็เข้าใจว่าตนเองก็มีส่วนรับผิดชอบในความล้มเหลวเช่นกัน
